พม่าจำใจยอมตกลงรับการช่วยเหลือจากต่างชาติ
องศ์กร NGO ที่ทำงานคล้ายกับ UN กำลังเผชิญปัญหากับรัฐบาลพม่าในเรื่องการไม่ยอมรับการช่วยเหลือ หลังจากที่เจอกับภัยพิบัติ รัฐบาลพม่าในที่สุดก็ยอมเปิดประเทศ หลังจากที่ปิดมากว่า 50 ปี เหล่านายพลผู้ที่เป็นห่วงในอำนาจอธิปไตยของตน ต่างกลัวว่า กองทัพของต่างชาติ อ้างเข้ามาช่วย แล้วใช้แผนเข้าเล่่ห์เล่นงานรัฐบาลพม่าให้แพ้ในที่สุด แล้วยึดอำนาจ พวกเขาได้เปิดประเทศเพื่อรับการช่วยเหลือจากต่างชาติ อย่างไม่เต็มใจ ในช่วงที่เกิดเหตู ทสึนามิ ในปี 2004 พม่าเป็นประเทศเดียวไม่ได้ยอมรับการช่วยเหลือจากชาติ และได้บอกว่า “ไม่มีประโยชน์ ที่จะให้พวกคนเหล่านั้นเข้ามาช่วย”. และครั้งนี้ เพื่อลดความตึงเครียดของประชาชน พวกเขาจึงยอมรับความ่ชวยเหลือ แต่ยังคงระแวงอยู่ รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทยของพม่า ได้เตือนกลุ่มผู้ที่จะมาช่วยเหลือว่า ถ้าจะเข้ามา ต้องมาเจรจากับรัฐบาลก่อนที่จะเข้ามาในพื้นที่ และทางการพม่าก็ได้จัดเตรียมความปลอดภัยอย่างเข้มงวด นั่นคือการควบคุมกลุ่มที่จะเข้ามาช่วยเหลือ และกำหนดขอบเขตของการช่วยเหลือ จนกว่าจะถึงวันลงมติในวันเสาร์ (10 พค 2008) ความมั่นคงของประเทศแสดงถึงความหวาดกลัวต่อกลุ่ม NGO ที่พยายามจะเข้ามาช่วยผู้ประสบภัย การออกวิซ่านั้นเป็นไปได้เชื่องช้ามาก ๆ มีแค่เพียงบางกลุ่มเท่านั้น เช่นกลุ่ม World Vision ที่สามารถเข้าไปได้ ส่วนกลุ่มอื่น ๆ เช่น กลุ่มหน่วยย่อยของ UN (ซึ่งจะมอบความช่วยเหลืออย่างสุดความสามารถ เมื่อวาน (6 พค 2008) ผู้เชี่ยวชาญจากกลุ่ม UNICEF , สภากาชาดของโลก (Red Cross) และกลุ่มพระจันทร์เสี้ยวแดง (Red Crescent) ยังคงไม่ได้รับเอกสารจากทางการของพม่า “เรากำลังความหวังอยู่” เวโรนิก ทาโว โฆษก UN ของ Genava ได้กล่าวไว้ จากความกลัวของรัฐบาลพม่า เหล่าสื่อมวลชนยังคงไม่กล่าวด่า หรือตำหนิ เพราะจะทำให้การออกวิซ่าเป็นไปด้วยความยากลำบากมากขึ้น ทูตไม่สามารถทำอะไรได้เลย รัฐบาลพม่าได้กล่าวปฎิเสธข้อเสนอแทบทุกข้อเสนอ “พวกเขาไม่ยอมรับความช่วยเหลือโดยตรงจากทางเรา และไม่ยอมรับทีมงานที่รับจะเตรียมจัดส่งไป” เบอร์นาร์ด คุชเนร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศได้กล่าวไว้ ทางการปารีสได้จัดสรรงบประมาณเป็นเงิน 200,000 ยูโร่ เพื่อช่วยเหลือด้านนี้โดยตรง ได้ไปถึงพม่าเรียบร้อยแล้ว
ประธานาธิบดี George W.Bush ได้กล่าว เข้าพร้อมที่จะส่งความช่วยเหลือจากกองทัพเรือ รวมถึง กองเรือ USS Essex ซึ่งจะเดินทางผ่านมาทางชายฝั่งไทย “เรายังอยากทำอะไรมากกว่านี้” บุชกล่าว ในการเจรจาการเปิดเส้นทางการช่วยเหลือ ตลอดเวลาเมื่อวาน (6 พค 2008) หลายการเจรจาต่อรองทางโทรศัพท์ต้องจบลงอย่างไร้สาระ ส่วนทางการจีน เพื่อนบ้านที่สำคัญของพม่า ได้ประกาศช่วยเหลือด้วยการบริจาคเงินเพื่อเป็นเงินฉุกเฉินของการช่วยเหลือ เป็นเงิน หนึ่งล้านดอลลาร์สหรัฐ ในนาม”กองทุน และอุปกรณ์” ด้วยความไม่จากรัฐบาล กลุ่มผู้ช่วยเหลือต้องจัดสรรเดินทางกันเอง และเกิดปัญหาในการเดินทางหลายครั้ง การเดินทางสู้พื้นที่ที่มีทางที่ถูกทำลายนั้น แทบเรียกได้ว่า “เกือบเป็นไปไม่ได้” ตาหลักฐานที่พบ ทางที่ถูกทำลายกลายเป็นเศษซาก ทำให้กลายเป็นป่าทึบ ดังนั้นการใช้เฮลิคอปเตอร์เป็นหนทางเดียวที่จะไปช่วยเหลือได้ องค์กรช่วยเหลือก็กำลังปวดหัวจากการที่สายโทรศัพท์ถูกทำลาย “การที่ไม่มีความสามารถในการสื่อสาร เราได้ข้อมูลที่น้อยนิดมาก เพราะว่าภัยพิบัตินี้มันใหญ่หลวงจริงๆ
องศ์กร NGO ที่ทำงานคล้ายกับ UN กำลังเผชิญปัญหากับรัฐบาลพม่าในเรื่องการไม่ยอมรับการช่วยเหลือ หลังจากที่เจอกับภัยพิบัติ รัฐบาลพม่าในที่สุดก็ยอมเปิดประเทศ หลังจากที่ปิดมากว่า 50 ปี เหล่านายพลผู้ที่เป็นห่วงในอำนาจอธิปไตยของตน ต่างกลัวว่า กองทัพของต่างชาติ อ้างเข้ามาช่วย แล้วใช้แผนเข้าเล่่ห์เล่นงานรัฐบาลพม่าให้แพ้ในที่สุด แล้วยึดอำนาจ พวกเขาได้เปิดประเทศเพื่อรับการช่วยเหลือจากต่างชาติ อย่างไม่เต็มใจ ในช่วงที่เกิดเหตู ทสึนามิ ในปี 2004 พม่าเป็นประเทศเดียวไม่ได้ยอมรับการช่วยเหลือจากชาติ และได้บอกว่า “ไม่มีประโยชน์ ที่จะให้พวกคนเหล่านั้นเข้ามาช่วย”. และครั้งนี้ เพื่อลดความตึงเครียดของประชาชน พวกเขาจึงยอมรับความ่ชวยเหลือ แต่ยังคงระแวงอยู่ รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทยของพม่า ได้เตือนกลุ่มผู้ที่จะมาช่วยเหลือว่า ถ้าจะเข้ามา ต้องมาเจรจากับรัฐบาลก่อนที่จะเข้ามาในพื้นที่ และทางการพม่าก็ได้จัดเตรียมความปลอดภัยอย่างเข้มงวด นั่นคือการควบคุมกลุ่มที่จะเข้ามาช่วยเหลือ และกำหนดขอบเขตของการช่วยเหลือ จนกว่าจะถึงวันลงมติในวันเสาร์ (10 พค 2008) ความมั่นคงของประเทศแสดงถึงความหวาดกลัวต่อกลุ่ม NGO ที่พยายามจะเข้ามาช่วยผู้ประสบภัย การออกวิซ่านั้นเป็นไปได้เชื่องช้ามาก ๆ มีแค่เพียงบางกลุ่มเท่านั้น เช่นกลุ่ม World Vision ที่สามารถเข้าไปได้ ส่วนกลุ่มอื่น ๆ เช่น กลุ่มหน่วยย่อยของ UN (ซึ่งจะมอบความช่วยเหลืออย่างสุดความสามารถ เมื่อวาน (6 พค 2008) ผู้เชี่ยวชาญจากกลุ่ม UNICEF , สภากาชาดของโลก (Red Cross) และกลุ่มพระจันทร์เสี้ยวแดง (Red Crescent) ยังคงไม่ได้รับเอกสารจากทางการของพม่า “เรากำลังความหวังอยู่” เวโรนิก ทาโว โฆษก UN ของ Genava ได้กล่าวไว้ จากความกลัวของรัฐบาลพม่า เหล่าสื่อมวลชนยังคงไม่กล่าวด่า หรือตำหนิ เพราะจะทำให้การออกวิซ่าเป็นไปด้วยความยากลำบากมากขึ้น ทูตไม่สามารถทำอะไรได้เลย รัฐบาลพม่าได้กล่าวปฎิเสธข้อเสนอแทบทุกข้อเสนอ “พวกเขาไม่ยอมรับความช่วยเหลือโดยตรงจากทางเรา และไม่ยอมรับทีมงานที่รับจะเตรียมจัดส่งไป” เบอร์นาร์ด คุชเนร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศได้กล่าวไว้ ทางการปารีสได้จัดสรรงบประมาณเป็นเงิน 200,000 ยูโร่ เพื่อช่วยเหลือด้านนี้โดยตรง ได้ไปถึงพม่าเรียบร้อยแล้ว
ประธานาธิบดี George W.Bush ได้กล่าว เข้าพร้อมที่จะส่งความช่วยเหลือจากกองทัพเรือ รวมถึง กองเรือ USS Essex ซึ่งจะเดินทางผ่านมาทางชายฝั่งไทย “เรายังอยากทำอะไรมากกว่านี้” บุชกล่าว ในการเจรจาการเปิดเส้นทางการช่วยเหลือ ตลอดเวลาเมื่อวาน (6 พค 2008) หลายการเจรจาต่อรองทางโทรศัพท์ต้องจบลงอย่างไร้สาระ ส่วนทางการจีน เพื่อนบ้านที่สำคัญของพม่า ได้ประกาศช่วยเหลือด้วยการบริจาคเงินเพื่อเป็นเงินฉุกเฉินของการช่วยเหลือ เป็นเงิน หนึ่งล้านดอลลาร์สหรัฐ ในนาม”กองทุน และอุปกรณ์” ด้วยความไม่จากรัฐบาล กลุ่มผู้ช่วยเหลือต้องจัดสรรเดินทางกันเอง และเกิดปัญหาในการเดินทางหลายครั้ง การเดินทางสู้พื้นที่ที่มีทางที่ถูกทำลายนั้น แทบเรียกได้ว่า “เกือบเป็นไปไม่ได้” ตาหลักฐานที่พบ ทางที่ถูกทำลายกลายเป็นเศษซาก ทำให้กลายเป็นป่าทึบ ดังนั้นการใช้เฮลิคอปเตอร์เป็นหนทางเดียวที่จะไปช่วยเหลือได้ องค์กรช่วยเหลือก็กำลังปวดหัวจากการที่สายโทรศัพท์ถูกทำลาย “การที่ไม่มีความสามารถในการสื่อสาร เราได้ข้อมูลที่น้อยนิดมาก เพราะว่าภัยพิบัตินี้มันใหญ่หลวงจริงๆ
Aucun commentaire:
Enregistrer un commentaire